วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Monday 30 November 2558

Recent Post 6
Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood
Monday 30 November  2558





story of subject (เนื้อหาที่สอน) 
       - กิจกรรมบริหารสมอง
      - กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ) 



กิจกรรมบริหารสมอง
















สรุปกิจกรรม  ให้เด็กเลือกวาดในสิ่งที่เด็กชอบซึ่งจะทำให้เด็กได้แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์


Skill (ทักษะที่ได้)
     ทักษะการถาม-ตอบ
     ทักษะกศิลปะสร้างสรรค์

Self-Assessment (ประเมินตนเอง) ตั้งใจปฎิบัติกิจกรรมอย่างตั้งใจ
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน) ให้ความร่มมือในทุกๆ กิจกรรม
Teacher-Assessment (ประเมินครู) แต่งกานสุภาพ อธิบายกิจกรรมอย่างเข้าใจ

Monday 16 November 2558

Recent Post 10

Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood 

Monday 16 November  2558





Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
   -  ศิลปะสร้างสรรค์
   -  การจัดกิจกรรมศิลปะ

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)


- กิจกรรมบ้านขนม เป็นกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
- ศิลปะกับความคิดสร้างสรรค์ นักจิตวิทยาทางการศึกษาทั่วโลกเชื่อกันว่าเด็กทุกคนมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถพัฒนาให้เจริญงอกงามได้ตามระดับความสามารถของแต่ละบุคคล ถ้า หากเด็กนั้นๆได้รับการเสริมและสนับสนุนให้มีการแสดงออกภายใต้ บรรยากาศที่มีเสรีภาพ สำหรับ เด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์ในตัว สามารถพิจารณาจากพฤติกรรมได้หลายด้านดังนี้

1.การเป็นผู้กระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา
2.การเป็นผู้สร้างสรรค์สิ่งต่างๆด้วยความคิดของตนเอง
3.การเป็นผู้ชอบสำรวจตรวจสอบความคิดใหม่ ๆ
4.การเป็นผู้เชื่อมั่นในความคิดของตัวเอง
5.การเป็นผู้สอบสวนสิ่งต่างๆ
6.การเป็นผู้มีประสาทสัมผัสอันดีต่อความงาม
     จะเห็นได้ว่าการสร้างสรรค์ คือการ เจริญงอกงามทั้งด้านความคิด ร่างกาย และ พฤติกรรม และศิลปะคือ เครื่องมือที่ดีและเหมาะสมที่สุดในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เพราะ กระบวนการทางศิลปะไม่มีขอบเขตแห่งการสิ้นสุด สามารถสร้างความเพลิดเพลินให้แก่เด็กได้ตลอดเวลานอกจากนี้ยังช่วยให้เด็ก เกิดความคิดที่ต่อเนื่องอย่างไม่จบสิ้น และก้าวไปยังโลกแห่ง จินตนาการอย่างไม่มีขอบเขต
- กิจกรรมศิลปะ เป็นกิจกรรมที่สามารถพัฒนากล้ามเนื้อเล็กได้เป็นอย่างดี และยังเชื่อมโยงพัฒนาการของอวัยวะหลายส่วน ทำให้เกิดจุดเชื่อมต่อของใยประสาทที่สามารถพัฒนาไปสู่แบบแผนการเรียนรู้ของสมอง ในการจัดกิจกรรมศิลปะหรือกิจกรรมสร้างสรรค์ ครูควรจัดกิจกรรมให้เด็กมีประสบการณ์ตรงและฝึกปฏิบัติอย่างหลากหลาย

       หากย้อนอดีต สะท้อนประสบการณ์เดิมด้านการเรียนการสอนศิลปะ คุณครูจะให้นักเรียนวาดภาพทิวทัศน์ในกระดาษวาดเขียน แนวคิดเดิม ๆ คือ ภาพทิวทัศน์จะมีดวงอาทิตย์อยู่ตรงกลางระหว่างภูเขา มีก้อนเมฆ มีต้นมะพร้าวหรือต้นไม้อื่น มีน้ำทะเล มีเรือใบ มีนกบิน ฯลฯ แต่ยุคปัจจุบันการสอนศิลปะเด็กปฐมวัย จะต้องจัดกิจกรรมให้เด็กอย่างหลากหลายรูปแบบนะครับ เช่น

- กิจกรรมวาดภาพระบายสี
- กิจกรรมเล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี หยดสี พับสี ระบายสีด้วยนิ้วมือ ฝ่ามือ
- กิจกรรมการพิมพ์ภาพด้วยส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและวัสดุต่าง ๆ
- กิจกรรมการปั้น ขยำดินเหนียว ดินน้ำมัน แป้งโด กระดาษ ฯลฯ
- กิจกรรมการพับ ฉีก ตัด ปะ
- กิจกรรมการร้อย สาน และการออกแบบ
- กิจกรรมการฝนสีด้วยกระดาษทราย

Skill (ทักษะที่ได้)
     ทักษะการถาม-ตอบ
     ทักษะการสังเกต
     ทักษะการคิดวิเคราะห์

Evaluation (การประเมิน)
    Self-Assessment (ประเมินตนเอง) เข้าใจในวิชาศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยมากขึ้น
   friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)ให้ความร่วมมือในการเรียนกันทุกคน
   Teacher-Assessment (ประเมินครู) แต่งกายสุภาพ อธิบายเนื้อหาที่เรียนได้เข้าใจ

วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Monday 9 November 2558

Recent Post 9

Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood 

Monday 9 November  2558



Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

-  สอบการเขียนกระดาษในเรื่องที่เตรียมมา ของแต่ละกลุ่ม
-  เทคนิคการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวต่างๆ

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)


เทคนิคในการเขียนกระดาษ
-  เอียงตัวโดยหันหน้าเข้าเด็กประมาณ 45 องศา
-  เขียนปากกาที่มีสีชัดเจน เด็กมองเห็นง่าย เน้นคำที่สำคัญในเรื่องที่สอน
-  ในการสอนควรมีการใช้คำถาม ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไหร่ อย่างไร
-  เมื่อเขียนเสร็จครูอ่านให้เด็กอ่านพร้อมกัน โดยครูชี้พร้อมอ่าน

กิจกรรมการเคลื่อนไหวจังหวะที่ฝึกความคิดสร้างสรรค์
           เคลื่อนไหวที่เป็นให้สร้างสรรค์ได้อย่างไร
          เคลื่อนไหวที่เป็นจินตนาการได้อย่างงไร

Skill (ทักษะที่ได้)
      ทักษะการถาม-ตอบ
      ทักษะการเขียนกระดาน

Evaluation (การประเมิน) 
Self-Assessment (ประเมินตนเอง) เข้าใจในวิธีการเขียนกระดาษมากขึ้น
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน) ร่วมมือในการฝึกเขียนกระดานทุกกันอย่างเต็มใจ
Teacher-Assessment (ประเมินครู) แต่งกายสุภาพ อธิบายถึงวิธีการที่เราจะเขียนกระดานและกิจกรรมการเคลื่อนไหวจังหวะอย่างถูกต้อง

Monday 2 November 2558

Recent Post 8

Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood 

Monday 2 November  2558


Story of subject (เนื้อหาที่สอน) 

- ร้องทบทวนบทเพลง
-  ฝึกเขียนกระดาษ
-  แต่งเรื่องที่จะใช้ในการสอน

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)

                                                ร้องเพลง Twinkle,twinkle,Little star



                                                 ร้องเพลง   Where is Thumbkin?

ฝึกการเขียนกระดาน


              การฝึกเขียนกระดานเป็นที่สำคัญที่ครูสอน รวมทั้งความรู้ของเด็กๆ  และเป็นจุดรวมความสนใจของนักเรียนทั้งห้อง การเขียนกระดานให้ถูกวิธีของการเขียนและการสะกด เขียนให้อยู่ในแนวระดับและเขียนให้เป็นไปโดยลำดับอย่างมีระเบียบแม้จะดูเหมือนเป็นเรื่องที่ทำได้โดยง่าย เราต้องฝึกฝนให้เกิดชำนาญเพื่อให้เด็กๆเกิดการเรียนรู้ได้ดีและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียนเขียนตัวอักษรและการใช้กระดาน

Skill (ทักษะที่ได้)
      การเขียนกระดาษที่ถูกวิธี

Evaluation (การประเมิน) 
Self-Assessment (ประเมินตนเอง) ตั้งใจฝึกการเขียนกระดาน
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน) ร่วมมือในการฝึกเขียนกระดานทุกกลุ่ม
Teacher-Assessment (ประเมินครู) แต่งกานสุภาพ อธิบายถึงวิธีการที่เราจะเขียนกระดานอย่างถูก                                                             วิธี

วันอาทิตย์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Monday 26 October 2558

Recent Post 7
Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood
Monday 26 October  2558

story of subject (เนื้อหาที่สอน) 
      - กิจกรรมการทำไม้ชี้ สำหรับสอนเด็ก

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ) 
  
วิธีการทำ
 1.ตัดกระดาษเป็นรูปที่เราสนใจ
 2. ตกแต่งรูป ระบายสี
 3. ใส่ไม่ตรงกลางกระดาษ ติดกาว




Evaluation (การประเมิน) 

Self-Assessment (ประเมินตนเอง) ตั้งใจทำกิจกรรม
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน) ร่วมมือในการปฎิบัติกิจกรรมไม้ชี้ของทุกคน
Teacher-Assessment (ประเมินครู) แต่งกานสุภาพ อธิบายกิจกรรมอย่างเข้าใจ


Monday 19 October 2558

Recent Post 6
Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood
Monday 19 October  2558

story of subject (เนื้อหาที่สอน) 
      - กิจกรรมทายเสียง
      - กิจกรรมเสียงกระซิบ
      - กิจกรรม แต่ง คำคล้องจอง


Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ) 
         - กิจกรรมเข้าสู่บทเรียน "ทายเสียงสัตว์" มี 11 เสียง 
สุนัข แมว หมู วัว ไก่โต้ง ม้า
แม่ไก่ แพะ เป็ด ลา ลูกเจี๊ยบ
         - กิจกรรม "ทายเสียงดนตรี" มี 15 เสียง

กิจกรรมดังกล่าวเป็นส่งเสริมให้เด็กได้คิดว่าเสียงอะไร ใช้การถาม-ตอบ
        
           - กิจกรรมเกมส์กระซิบ
               รอบที่ 1 ให้เพื่อนคนแรกออกไปดูกระดาษเพื่อจำมาบอกคนถัดไปจนถึงคนสุดท้ายของห้อง
               รอบที่ 2  แบ่งกลุ่มให้คนแรกออกไปดูกระดาษกระดาษแล้วนำมาบอกเพื่อนคนสุดท้ายในกลุ่ม คนสุดท้ายออกไปบอกเพื่อนๆ หน้าห้อง
          - กิจกรรมแต่งคำคล้องจอง เป็นกลุ่ม
  กลุ่มของข้าพเจ้า

อะไรเอ๋ยอยู่ในน้ำใส        ว่ายเวียนว่องใวอยู่ในสายธารา
มีครีบมีเงือกมีหางและตา(ซ้ำ)       อยากจะรู้ว่า เอ่ะ ตัวอะไร

อะไรเอ๋ยชอบกินใบไผ่           รูปร่างตัวใหญ่มาจากเมืองจีน
ซุกซนและชอบปีนป่าย           มีชื่อหลินปิง เอ่ะ ตัวอะไร

กิจกรรมดังกล่าว เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดความคิดสร้างสรรค์ในภาษา การถาม-ตอบ 

Evaluation (การประเมิน)

Self-Assessment (ประเมินตนเอง) ตั้งใจปฎิบัติกิจกรรมอย่างตั้งใจ
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน) ให้ความร่มมือในทุกๆ กิจกรรม
Teacher-Assessment (ประเมินครู) แต่งกานสุภาพ อธิบายกิจกรรมอย่างเข้าใจ

Monday 5 October 2558

Recent Post 5
Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood
Monday 5 October  2558

story of subject (เนื้อหาที่สอน) 
      - ทำกิจกรรมการเล่นเพื่อส่เสริมกิจกรรม


Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ) 
           - ทำกิจกรรมก่อนเรียน เล่นเกมมายากลระดับโลก
           - แนวคิดทฤษฏีการเล่น

Activity (กิจกรรม) 

พัฒนาการของเล่นขอเด็กมี 3 ขั้น
- ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยุติลงใน 2 ขวบ
- ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ อายุ 1ปีครึ่ง - 2 ปี การเล่นไม่มีขอบเขต  เล่นด้วยความพอใจมากกว่าความเป็นจริง
- ขั้นการเล่นโดยใช้สัญลักษณ์   อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถเกิดพัฒนาการเต็ฒที่เมื่อ 3-4 ปี เกิดขึ้นเมื่อสามารถจำและสมมุติสิ่งของเครื่องเล่นต่างๆ ที่ไม่มี อยู่จริง

ประเภทของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
- การเล่นกลางแจ้ง
- การเล่นในร่ม

การเล่นในร่ม
- การเล่นตามมุมประสบการณ์
- การเล่นสรรค์สร้าง

การเล่นสรรค์สร้าง
- การเล่นเพื่อให้เด็กคิค้นการเล่นด้วยอิสระ
- การเล่นที่ผลิกแพลงแตกต่างจากเดิม

องค์ประกอบการเล่นสรรค์สร้าง
- สภาวะการเรียนรู้
- พัฒนาการของการรู้คิด
- กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน

กระบวนการจัดประสบการณ์เรียนรู้
-  เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
- การเรียนรู้เกี่ยวกับการตรงเวลา
- การจำแนกอย่างมีเหตุผล

หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
- กำหนดสภาพและกำหนดขอบข่ายการจัดกิจกรรมของเด็ก
- ศึกษาสภาพแวดล้อม และจัดสื่อกิจกรรมให้เหมาะสม
- มีส่วนร่วมและจังหวะเวลาที่เหมาะสม

Activity (กิจกรรม)
- กิจกรรมนักออกแบบอาคาร 


Evaluation (การประเมิน) 
Self-Assessment (ประเมินตนเอง) เข้าใจในการปฎิบัติกิจกรรมมากขึ้น
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน) มีความร่มมือในการเรียน การทำกิจกรรม
Teacher-Assessment (ประเมินครู) อธิบายอย่างเข้าใจ แต่งกายเรียบร้อย