Recent Post 4
Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood
Monday 7 September 2558
story of subject (เนื้อหาที่สอน)
Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)
อาจารย์เกี่ยวกับ การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เด็กปฐมวัย
ความคิดสร้างสรรค์ไม่สามารถบังคับให้เกิดขึ้นได้ แต่สามารถส่งเสริมให้เกิดขึ้นได้
แนวคิดทฤษฏีโครงสร้างทางปัญญาของ Guilford อธิบายความหมายของมนุษย์เป็นแบบจำลอง 3 มิติ
มิติที่ 1 เนื้อหา มิติที่ 2 มิติที่ 3
(ข้อมูลสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในความคิด) (กระบวนการทำงานสมอง) (การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
- ภาพ - การรู้และการเข้าใจ - หน่วย -ระบบ
- สัญลักษณ์ - การจำ - จำพวก
- ภาษา - การคิดแบบอเนกนัย - การแปลงรูป
- พฤติกรรม - การคิดแบบเอกนัย - ความสัมพันธ์
- การประเมินค่า - การประยุกต์
ทฤษฎีของ Torrance ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการของความรู้สึกต่อปัญญา แล้วรวบรวมความคิดตั้งเป็นสมมุติฐาน และเผยแพร่ผลที่ได้รับจาการทดสอบ
ลักษณะเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
- มีไหวพริบ -มีอารมณ์ขัน - กล้าแสดงออก - มีสมาธิ - อยากรู้อยากเห็น - มีสมาธิ - รักอิสระ -ช่างสังเกต
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะกิจกรรมที่ส่งเริมความคิดสร้างสรรค์ 3 ลักษณะ
ลักษณะที่1 ความไม่สมบูณ์ การเปิกกว้าง (Incompleteness,Openness)
ลักษณะที่2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ (Producing Something and Using It)
ลักษณะที่3 การใช้คำถามของเด็ก (Using Pupil Question)
1.คำถามที่ส่งเสริมความคิดคล่องแคล่ว
2.คำถามที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม
3.คำถามที่ส่งเสริมความคิดยืดหยุ่น
4.คำถามที่ส่งเสริมความคิดละเอียด
การตั้งคำถาม 5W1H
Who ใคร
What อะไร
Where ที่ไหน
When เมื่อไหร
Why เมื่อไร
How อย่างไร
Activity (กิจกรรม)
-ทบทวนเพลง
- กิจกรรมไร่สตอเบอรี่ กิจกรรมด้านจิตวิทยา
- กิจกรรมวาดภาพสีจากธรรมชาติ
โดยให้นักศึกษาไปเก็บเศษวัสดุธรรมชาติ ดอกไม้ ดิน ด้วยตัวเอง โดยใช้เวลา 10 นาที
นำอุปกรณ์มาวาดลงในกระดาษ โดยใช้สีจากธรรมชาติที่หามา เมื่อเสร็จให้เด็กออกมาอธิบายว่า
ภาพนี้ชื่ออะไร
ได้สีมาจากอะไรบ้าง
Skill (ทักษะที่ได้รับ)
ได้ทักษะ การร่วมมือ
ได้ทักษะ คิดวิเคราะห์
ได้ทักษะ ความคิดสร้างสรรค์
Adoption( การนำไปใช้)
นำไปใช้ในการบูณาการได้งานศิลปะ ฝึกการใช้คำถามแก่เด็ก
classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
เพื่อนให้ความร่วมมือในการเรียน มีความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Evaluation (การประเมิน)
Self-Assessment (ประเมินตนเอง) เช้าใจในเนื้อหา ตั้งใจสร้างสรรค์งานอย่างตั้งใจ
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน) เพื่อนให้ความร่วมมือในการเรียน การทำกิจกรรมทุกคน
Teacher-Assessment (ประเมินครู) อธิบายเนื้อหาได้เข้าใจ มีความรู้ในด้านศิลปะเพิ่มขึ้น